<เครือข่าย>

การตั้งค่าทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเครือข่ายจะแสดงรายการพร้อมคำอธิบาย การตั้งค่ามาตรฐานจะมีเครื่องหมายแดกเกอร์ () กำกับไว้
ดอกจัน (*)
การตั้งค่าที่กำกับด้วย "*1" จะไม่สามารถนำเข้าหรือส่งออก
การตั้งค่าที่กำกับด้วย "*2" อาจไม่แสดงผล ขึ้นอยู่กับรุ่นที่คุณใช้ ตัวเลือก หรือรายการตั้งค่าอื่นๆ

<เลือก LAN มีสาย/ไร้สาย>

เมื่อสลับเครื่องจาก LAN แบบไร้สายไปเป็น LAN แบบใช้สาย คุณต้องระบุการตั้งค่า ในทางตรงข้าม เมื่อสลับเครื่องจาก LAN แบบใช้สายไปเป็น LAN แบบไร้สาย คุณไม่จำเป็นต้องระบุการตั้งค่านี้ (คุณสามารถสลับโดยใช้ <การตั้งค่า LAN ไร้สาย> ต่อไปนี้) การเลือก LAN แบบใช้สายหรือ LAN แบบไร้สาย
<LAN แบบมีสาย>
<LAN แบบไร้สาย>

<การตั้งค่า LAN ไร้สาย>

ระบุการตั้งค่าสำหรับเชื่อมต่อเครื่องเข้ากับ LAN แบบไร้สาย คุณยังสามารถดูการตั้งค่าปัจจุบันหรือระบุการตั้งค่าเพื่อให้ประหยัดการใช้พลังงาน
<การตั้งค่า SSID>
เลือกเพื่อกำหนดค่าการเชื่อมต่อแบบไร้สายโดยระบุข้อมูลต่างๆ รวมถึง SSID หรือคีย์เครือข่ายโดยป้อนค่าด้วยตนเองจากแผงควบคุมการทำงาน
<เลือกจุดการเข้าถึง>
เราเตอร์ LAN แบบไร้สายที่สามารถเข้าถึงเครื่องจะถูกค้นหาโดยอัตโนมัติ ดังนั้นคุณจึงสามารถเลือกจากรายการได้ คุณต้องป้อนคีย์เครือข่ายด้วยตนเอง เช่น คีย์ WEP หรือ PSK การตั้งค่าการเชื่อมต่อโดยเลือกเราเตอร์แบบไร้สาย
<กรอกด้วยตนเอง>
เลือกเพื่อกำหนดค่าการเชื่อมต่อแบบไร้สายโดยการป้อน SSID ด้วยตนเอง ด้วยการใช้วิธีการนี้ คุณจะสามารถระบุการตั้งค่าการรับรองความถูกต้องและการเข้ารหัสโดยละเอียดได้ การตั้งค่าการเชื่อมต่อโดยระบุการตั้งค่าโดยละเอียด
<การตั้งค่าความปลอดภัย>
<ไม่มี>
<WEP>
<ระบบเปิด>
คีย์ WEP 1 ถึง 4
<คีย์ที่ใช้ร่วมกัน>
คีย์ WEP 1 ถึง 4
<WPA/WPA2-PSK>
<อัตโนมัติ>
<AES-CCMP>
<โหมดปุ่มกด WPS>
เลือกเพื่อกำหนดค่าการเชื่อมต่อแบบไร้สายโดยอัตโนมัติโดยใช้ปุ่มบนเราเตอร์แบบไร้สาย WPS การตั้งค่าการเชื่อมต่อโดยใช้โหมดกดปุ่ม WPS
<โหมดรหัส PIN WPS>
เลือกเพื่อกำหนดค่าการเชื่อมต่อแบบไร้สายโดยป้อนรหัส PIN สำหรับเราเตอร์แบบไร้สาย WPS การตั้งค่าการเชื่อมต่อโดยใช้โหมดรหัส PIN ของ WPS
<โหมดประหยัดพลังงาน>
เลือกว่าจะให้เครื่องเข้าสู่โหมดประหยัดพลังงานหรือไม่ขึ้นอยู่กับสัญญาณที่ปล่อยจากเราเตอร์แบบไร้สาย
<ปิด>
<เปิด>
<ข้อมูลการเชื่อมต่อ> *1
เลือกเพื่อดูการตั้งค่า LAN แบบไร้สายปัจจุบัน การตรวจดูการตั้งค่าเครือข่าย
<ที่อยู่ MAC>
<สถานะ LAN ไร้สาย>
<ข้อมูลข้อผิดพลาดล่าสุด>
<ช่อง>
<การตั้งค่า SSID>
<การตั้งค่าความปลอดภัย>
<โหมดประหยัดพลังงาน>

<การตั้งค่าการเชื่อมต่อโดยตรง>

ตั้งค่าว่าจะเชื่อมต่อโดยตรงหรือไม่ การเปิดใช้งานฟังก์ชันนี้ จะทำให้สามารถเชื่อมต่อโดยตรงกับเครื่องได้ แม้ในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีจุดเข้าใช้งานหรือเราเตอร์ LAN แบบไร้สายก็ตาม การเชื่อมต่อโดยตรง (โหมดจุดเข้าใช้งาน)
<ใช้การเชื่อมต่อโดยตรง>
<ปิด>
<เปิด>
<การสิ้นสุดการเชื่อมต่อโดยตรง>
ระบุเวลาเพื่อปลดการเชื่อมต่อโดยอัตโนมัติ หลังจากที่มีการเชื่อมต่อโดยตรง
<สิ้นสุดเซสชันโดยอัตโนมัติ>
<ปิด>
<เปิด>
<เวลาจนกระทั่งเซสชันสิ้นสุดลง>
1 ถึง 60 (นาที)
<การตั้งค่าโหมดจุดเข้าใช้งาน>
กำหนดค่า SSID /คีย์เครือข่ายตามที่ต้องการ ถ้าคุณต้องการเชื่อมต่ออุปกรณ์เคลื่อนที่หลายเครื่องเข้ากับเครื่องนี้พร้อมกัน คุณต้องกำหนดค่าทั้ง SSID และคีย์เครือข่ายตามที่ต้องการ
<ใช้ SSID แบบกำหนดเอง>
<ปิด>
<เปิด>
<SSID>
 
<ใช้คีย์เครือข่ายกำหนดเอง>
<ปิด>
<เปิด>
<คีย์เครือข่าย>
<คงการเปิดใช้งานหากระบุ SSID/คีย์เครือข่าย> *2
ระบุว่าจะให้เครื่องรอการเชื่อมต่อโดยตรงหรือไม่
<ปิด>
<เปิด>
เมื่อตั้งค่ารายการนี้เป็น <เปิด> ให้กำหนดค่าล่วงหน้าสำหรับ SSID หรือคีย์เครือข่ายแบบกำหนดเองโดยใช้ <การตั้งค่าโหมดจุดเข้าใช้งาน>
<กำหนดค่าที่อยู่ IP สำหรับก.เชื่อมต่อโดยตรง>
ป้อนที่อยู่ IP ของเครื่องด้วยตนเองในเวลาที่มีการเชื่อมต่อโดยตรง
192.168.22.1

<การเชื่อมต่ออย่างง่ายผ่าน PC>

เริ่มต้นขั้นตอนสำหรับการเชื่อมต่ออย่างง่ายผ่าน PC (โหมดการตั้งค่าแบบไร้สาย) คุณสามารถใช้ Canon Laser NW Device Setup Utility เพื่อกำหนดการตั้งค่าเครือข่ายผ่านคอมพิวเตอร์
ดาวน์โหลด Canon Laser NW Device Setup Utility จากเว็บไซต์ Canon (https://global.canon)

<การตั้งค่า TCP/IP>

ระบุการตั้งค่าสำหรับการใช้เครื่องในเครือข่าย TCP/IP เช่น การตั้งค่าที่อยู่ IP
<การตั้งค่า IPv4>
ระบุการตั้งค่าสำหรับการใช้เครื่องในเครือข่าย IPv4
<การตั้งค่าที่อยู่ IP>
กำหนดค่าที่อยู่ IP ที่จะใช้สำหรับระบุอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ บนเครือข่าย TCP/IP การตั้งค่าที่อยู่ IPv4
<ได้รับอัตโนมัติ>
<ได้รับอัตโนมัติ>
<ปิด>
<เปิด>
<เลือกโปรโตคอล>
    <ปิด>
    <DHCP>
<IP อัตโนมัติ>
    <ปิด>
    <เปิด>
 
<ขอรับด้วยตนเอง>*2
<ที่อยู่ IP>: 0.0.0.0
<ซับเน็ตมาสก์>: 0.0.0.0
<ที่อยู่เกตเวย์>: 0.0.0.0
 
<ตรวจสอบการตั้งค่า>
<การตั้งค่าตัวเลือก DHCP>
ถ้าเปิดใช้งาน DHCP ให้ใช้การตั้งค่าเหล่านี้เพื่อใช้ฟังก์ชัน DHCP ที่เป็นตัวเลือกเพื่อรับที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ DNS หรือชื่อโดเมน การกำหนดค่า DNS
<ได้รับชื่อโฮสต์>
<ปิด>
<เปิด>
 
<อัพเดต DNS ไดนามิค>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ได้รับที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ DNS>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ได้รับชื่อโดเมน>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ได้รับที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ WINS>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ได้รับที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ SMTP>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ได้รับที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ POP>
<ปิด>
<เปิด>
<คำสั่ง PING>
เลือกเพื่อตรวจสอบว่าเครื่องเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายหรือไม่ การทดสอบการเชื่อมต่อเครือข่าย
<การตั้งค่า IPv6>
ระบุการตั้งค่าสำหรับการใช้เครื่องในเครือข่าย IPv6 การตั้งค่าที่อยู่ IPv6
<ใช้ IPv6>
<ปิด>
<เปิด>
<ตรวจสอบการตั้งค่า IPv6>
คุณสามารถตรวจสอบที่อยู่ลิงค์ภายในที่ได้รับโดยอัตโนมัติ
<การตั้งค่าที่อยู่แบบไม่มีสถานะ>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานที่อยู่แบบไม่มีสถานะ
<การตั้งค่าที่อยู่แบบไม่มีสถานะ>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ตรวจสอบการตั้งค่า>
<ที่อยู่แบบไม่มีสถานะ>
<ความยาวส่วนนำหน้า>
<การตั้งค่า DHCPv6>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานที่อยู่แบบมีสถานะที่ต้องการผ่าน DHCPv6
<ใช้ DHCPv6>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ตรวจสอบการตั้งค่า>
<ที่อยู่แบบมีสถานะ>
<ความยาวส่วนนำหน้า>
<การตั้งค่าตัวเลือก DHCP>
ถ้าเปิดใช้งาน DHCP ให้ใช้การตั้งค่าเหล่านี้เพื่อใช้ฟังก์ชัน DHCP ที่เป็นตัวเลือกเพื่อรับที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ DNS หรือชื่อโดเมน การกำหนดค่า DNS
<ได้รับที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ DNS>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ได้รับชื่อโดเมน>
<ปิด>
<เปิด>
<การตั้งค่า DNS>
ระบุการตั้งค่าสำหรับระบบชื่อโดเมน (Domain Name System (DNS)) ซึ่งจะให้ชื่อโฮสต์สำหรับการจำแนกที่อยู่ IP การกำหนดค่า DNS
<การตั้งค่าที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ DNS แบบ IPv4>
ระบุที่อยู่ IP ของเซิร์ฟเวอร์ DNS ในสภาพแวดล้อม IPv4
<เซิร์ฟเวอร์ DNS เริ่มต้น>: 0.0.0.0
<เซิร์ฟเวอร์ DNS สำรอง>: 0.0.0.0
<การตั้งค่าชื่อโฮสต์/ชื่อโดเมน DNS>
ระบุชื่อโฮสต์ของเครื่องที่จะลงทะเบียนในเซิร์ฟเวอร์ DNS รวมถึงชื่อโดเมนของเครื่อง
<IPv4>
<ชื่อโฮสต์>
<ชื่อโดเมน>
 
<IPv6>
<ใช้ IPv4 โฮสต์/โดเมน>
<ปิด>
<ชื่อโฮสต์>
<ชื่อโดเมน>
<เปิด>
<การตั้งค่าอัพเดต DNS ไดนามิค>
เลือกว่าจะอัพเดตระเบียน DNS เมื่อใดก็ตามที่ที่อยู่ IP ของเครื่องมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
<IPv4>
<อัพเดต DNS ไดนามิค>
<ปิด>
<เปิด>
<ช่วงเวลาอัพเดต DNS ไดนามิค>
    0 ถึง 24 ถึง 48 (ชั่วโมง) 
 
<IPv6>
<อัพเดต DNS ไดนามิค>
<ปิด>
<เปิด>
<ลงทะเบียนที่อยู่ด้วยตนเอง>
    <ปิด>
    <เปิด>
<ลงทะเบียนที่อยู่แบบมีสถานะ>
    <ปิด>
    <เปิด>
<ลงทะเบียนที่อยู่แบบไม่มีสถานะ>
    <ปิด>
    <เปิด>
<ช่วงเวลาอัพเดต DNS ไดนามิค>
    0 ถึง 24 ถึง 48 (ชั่วโมง)
<การตั้งค่า mDNS>
ระบุการตั้งค่าสำหรับการใช้ฟังก์ชัน DNS โดยไม่มีเซิร์ฟเวอร์ DNS
<IPv4>
<ใช้ mDNS>
<ปิด>
<เปิด>
<ชื่อ mDNS>
 
<IPv6>
<ใช้ mDNS>
<ปิด>
<เปิด>
<ใช้ชื่อ mDNS เดียวกับ IPv4>
    <ปิด>
        <ชื่อ mDNS>
    <เปิด>
<การตั้งค่า WINS>
ระบุการตั้งค่าสำหรับ Windows Internet Name Service (WINS) ซึ่งเตรียมชื่อ NetBIOS สำหรับการจำแนกที่อยู่ IP ในสภาพแวดล้อมของเครือข่ายผสมแบบ NetBIOS และ TCP/IP การกำหนดค่า WINS
<การจำแนกชื่อ WINS>
<ปิด>
<เปิด>
<ที่อยู่เซิร์ฟเวอร์ WINS>: 0.0.0.0
<การตั้งค่า LPD>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งาน LPD ซึ่งเป็นโปรโตคอลการพิมพ์ที่สามารถใช้ในระบบอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์หรือระบบปฏิบัติใดก็ได้ คุณยังสามารถตั้งค่าระยะเวลาหมดเวลาการรับ ซึ่งการพิมพ์จะถูกยกเลิกหลังจากช่วงเวลาดังกล่าว ถ้าการรับข้อมูลการพิมพ์ถูกขัดจังหวะ การกำหนดค่าโปรโตคอลการพิมพ์และฟังก์ชัน WSD
<ใช้การพิมพ์ LPD>
<ปิด>
<เปิด>
 
<การรับหมดเวลา>
 1 ถึง 5 ถึง 60 (นาที)
<การตั้งค่า RAW>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งาน RAW ซึ่งเป็นโปรโตคอลการพิมพ์แบบเฉพาะของ Windows คุณยังสามารถตั้งค่าระยะเวลาหมดเวลาการรับ ซึ่งการพิมพ์จะถูกยกเลิกหลังจากช่วงเวลาดังกล่าว ถ้าการรับข้อมูลการพิมพ์ถูกขัดจังหวะ การกำหนดค่าโปรโตคอลการพิมพ์และฟังก์ชัน WSD
<ใช้การพิมพ์ RAW>
<ปิด>
<เปิด>
 
<การรับหมดเวลา>
 1 ถึง 5 ถึง 60 (นาที)
<ตั้งค่า WSD>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานการเรียกดูและการรับข้อมูลอัตโนมัติสำหรับเครื่องพิมพ์หรือเครื่องสแกนโดยใช้โปรโตคอล WSD การกำหนดค่าโปรโตคอลการพิมพ์และฟังก์ชัน WSD
<ใช้การพิมพ์ WSD>
<ปิด>
<เปิด>
<ใช้การเรียกดู WSD>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ใช้การสแกน WSD>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ใช้การสแกนคอมพิวเตอร์>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ใช้การค้นพบแบบหลายผู้รับ>
<ปิด>
<เปิด>
<ใช้โหมด FTP PASV>
ระบุว่าจะใช้โหมด PASV สำหรับ FTP หรือไม่ ถ้าคุณเชื่อมต่อกับเซิร์ฟเวอร์ FTP ผ่านไฟร์วอลล์ คุณต้องเลือกโหมด PASV การกำหนดค่าโหมด FTP PASV
<ปิด>
<เปิด>
<ใช้ HTTP>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งาน HTTP ซึ่งจำเป็นสำหรับการเสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ เช่น เมื่อใช้ UI ระยะไกล การพิมพ์ WSD หรือการพิมพ์ด้วย Google Cloud Print การปิดใช้งานการสื่อสาร HTTP
<ปิด>
<เปิด>
<ใช้ IPSec> *1
เลือกว่าจะทำการสื่อสารแบบเข้ารหัสหรือไม่ โดยการสร้างเครือข่ายส่วนตัวแบบเสมือน (Virtual Private Network (VPN)) ผ่าน IPSec การกำหนดการตั้งค่า IPSec
<ปิด>
<เปิด>
<การตั้งค่าหมายเลขพอร์ต>
เปลี่ยนหมายเลขพอร์ตสำหรับโปรโตคอลตามสภาพแวดล้อมเครือข่าย การเปลี่ยนหมายเลขพอร์ต
<LPD>
1 ถึง 515 ถึง 65535
 
<RAW>
1 ถึง 9100 ถึง 65535
 
<การค้นพบแบบหลายผู้รับ WSD>
1 ถึง 3702 ถึง 65535
 
<HTTP>
1 ถึง 80 ถึง 65535
  
<การค้นพบแบบหลายผู้รับ>
1 ถึง 427 ถึง 65535
 
<POP3>
1 ถึง 110 ถึง 65535
 
<SMTP>
1 ถึง 25 ถึง 65535
 
<FTP>
1 ถึง 21 ถึง 65535
 
<SNMP>
1 ถึง 161 ถึง 65535
<ขนาด MTU>
เลือกขนาดสูงสุดของแพคเก็ตที่เครื่องส่งหรือรับ การเปลี่ยนหน่วยรับส่งข้อมูลสูงสุด (Maximum Transmission Unit)
<1300>
<1400>
<1500>

<การตั้งค่า SNMP>

ระบุการตั้งค่าสำหรับการตรวจสอบและการควบคุมเครื่องจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานซอฟต์แวร์ที่เข้ากันได้กับ SNMP การตรวจสอบและการควบคุมเครื่องด้วย SNMP
<การตั้งค่า SNMPv1>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งาน SNMPv1 เมื่อเปิดใช้งาน SNMPv1 ให้ระบุชื่อกลุ่มและสิทธิในการเข้าถึงอ็อบเจ็กต์ Management Information Base (MIB)
<ปิด>
<เปิด>
<การตั้งค่า SNMPv3>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งาน SNMPv3 ใช้ UI ระยะไกลเพื่อระบุการตั้งค่าโดยละเอียดที่จะใช้เมื่อเปิดใช้งาน SNMPv3
<ปิด>
<เปิด>
<ขอรับข้อมูลการจัดการเครื่องพิมพ์จากโฮสต์>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานการตรวจสอบข้อมูลการจัดการเครื่องพิมพ์จากคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่ใช้งานซอฟต์แวร์ที่เข้ากันได้กับ SNMP
<ปิด>
<เปิด>
<จัดรูปแบบ Host Rsrcs. MIB เป็น RFC2790>
ระบุว่าจะต้องเป็นไปตามรายละเอียดเฉพาะขั้นสูง (RFC2790) ของโปรโตคอลหรือไม่ เมื่อตรวจสอบสถานะเครื่องจากซอฟต์แวร์ที่เข้ากันได้กับ SNMP
<ปิด>
<เปิด>

<ใช้พอร์ตพิเศษ>

เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานพอร์ตพิเศษ พอร์ตพิเศษจะนำมาใช้เมื่อมีการพิมพ์ การส่งแฟกซ์ หรือการสแกนใช้ MF Scan Utility และเมื่อเรียกดูหรือระบุการตั้งค่าเครื่องผ่านเครือข่าย
<ปิด>
<เปิด>

<วิธีรับรองความถูกต้องพอร์ตพิเศษ>

ระบุว่าจะจำกัดวิธีการรับรองความถูกต้องให้เป็นวิธีแบบปลอดภัยหรือไม่ เมื่อใช้พอร์ตพิเศษ ถ้าเลือก <โหมด 2> วิธีการรับรองความถูกต้องจะถูกจำกัดให้เป็นวิธีการแบบปลอดภัย
<โหมด 1>
<โหมด 2>
ถ้าเลือก <โหมด 2> คุณจะไม่สามารถสร้างการเชื่อมต่อจากซอฟต์แวร์การจัดการอุปกรณ์หรือไดรเวอร์ได้ในบางกรณี

<เวลาที่ต้องรอสำหรับเริ่มต้นเชื่อมต่อ>

ระบุเวลาที่ต้องรอสำหรับการเชื่อมต่อกับเครือข่าย เลือกการตั้งค่าโดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของเครือข่าย การตั้งค่าเวลารอสำหรับการเชื่อมต่อกับเครือข่าย
0 ถึง 300 (วินาที)

<การตั้งค่าไดรเวอร์ Ethernet>

เลือกประเภท Ethernet (10BASE-T/100BASE-TX/1000BASE-T) และโหมดการสื่อสารของ Ethernet (สื่อสารสองทิศทางครึ่งอัตรา/สื่อสารสองทิศทางเต็มอัตรา) คุณยังสามารถดูที่อยู่ MAC ของ LAN แบบใช้สายได้อีกด้วย
<ตรวจวัดอัตโนมัติ>
เลือกว่าจะตรวจหาโดยอัตโนมัติหรือเลือกโหมดการสื่อสารและประเภท Ethernet ด้วยตนเอง การกำหนดการตั้งค่า Ethernet
<ปิด>
<โหมดการสื่อสาร>
<สื่อสารสองทิศทางครึ่งอัตรา>
<สื่อสารสองทิศทางเต็มอัตรา>
<ประเภท Ethernet>
<10BASE-T>
<100BASE-TX>
<1000BASE-T>
 
<เปิด>
เมื่อตั้งค่า <โหมดการสื่อสาร> เป็น <สื่อสารสองทิศทางครึ่งอัตรา> คุณจะไม่สามารถเลือก <1000BASE-T>
<ที่อยู่ MAC>
ตรวจสอบที่อยู่ MAC ของเครื่อง ซึ่งจะเป็นตัวเลขเฉพาะสำหรับอุปกรณ์การสื่อสารแต่ละชนิด การดูที่อยู่ MAC สำหรับ LAN แบบใช้สาย

<ใช้ IEEE 802.1X> *1*2

เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานการรับรองความถูกต้อง IEEE 802.1X การกำหนดการตั้งค่าการรับรองความถูกต้อง IEEE 802.1X
<ปิด>
<เปิด>

<การตั้งค่าไฟร์วอลล์>

หากไม่มีการรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสม บุคคลที่สามที่ไม่ได้รับอนุญาตอาจเข้าถึงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์การสื่อสารอื่นๆ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่ายได้ เพื่อป้องกันการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาตดังกล่าว ให้ระบุการตั้งค่าสำหรับตัวกรองแพคเก็ต ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่จะจำกัดการสื่อสารสำหรับอุปกรณ์ที่มีที่อยู่ IP หรือที่อยู่ MAC ที่ระบุ
<ตัวกรองที่อยู่ IPv4>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานการตั้งค่าสำหรับการกรองแพคเก็ตที่ส่งหรือรับจากอุปกรณ์ที่มีที่อยู่ IPv4 ที่ระบุ การระบุที่อยู่ IP สำหรับการตั้งค่าไฟร์วอลล์
<ตัวกรองขาออก>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ตัวกรองขาเข้า>
<ปิด>
<เปิด>
<ตัวกรองที่อยู่ IPv6>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานการตั้งค่าสำหรับการกรองแพคเก็ตที่ส่งหรือรับจากอุปกรณ์ที่มีที่อยู่ IPv6 ที่ระบุ การระบุที่อยู่ IP สำหรับการตั้งค่าไฟร์วอลล์
<ตัวกรองขาออก>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ตัวกรองขาเข้า>
<ปิด>
<เปิด>
<ตัวกรองที่อยู่ MAC>
เปิดใช้งานหรือปิดใช้งานการตั้งค่าสำหรับการกรองแพคเก็ตที่ส่งหรือรับจากอุปกรณ์ที่มีที่อยู่ MAC ที่ระบุ การระบุที่อยู่ MAC สำหรับการตั้งค่าไฟร์วอลล์
<ตัวกรองขาออก>
<ปิด>
<เปิด>
 
<ตัวกรองขาเข้า>
<ปิด>
<เปิด>

<การตั้งค่า Google Cloud Print>

เปิดใช้งานหรือปิดใช้งาน Google Cloud Print การลงทะเบียนเครื่องกับ Google Cloud Print
<ใช้ Google Cloud Print>
<ปิด>
<เปิด>
 
<สถานะการลงทะเบียน Google Cloud Print>*1

<การจัดการการตั้งค่าอุปกรณ์>

ระบุว่าจะใช้ปลั๊กอิน iW Management Console เพื่อจัดการข้อมูลเครื่อง เช่น การตั้งค่าและปลายทางในสมุดที่อยู่หรือไม่ สำหรับข้อมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับ iW Management Console โปรดติดต่อตัวแทนจำหน่ายของ Canon ที่คุณสะดวกที่สุด การกำหนดการตั้งค่าสำหรับสื่อสารระหว่างเครื่องและปลั๊กอิน
<ปิด>
<เปิด>

<บริการตรวจสอบ> *1*2

เปิดใช้งานการสื่อสารที่มีเซิร์ฟเวอร์การตรวจสอบระยะไกล การทำงานของรายการนี้จะทำให้มีการส่งข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องเป็นครั้งคราวไปยังเซิร์ฟเวอร์การตรวจสอบระยะไกลที่เชื่อมต่อกับเครื่อง

<RMT-SW>

ปล่อยสวิตช์นี้ให้ตั้งค่าเป็น <ปิด> เมื่อพนักงานบริการทำการบำรุงรักษาอุปกรณ์จากระยะไกล คุณอาจได้รับการร้องขอให้ตั้งค่าสวิตช์นี้เป็น <เปิด>
<ปิด>
<เปิด>

<การตั้งค่าเริ่มต้นเครือข่าย>

เลือกเพื่อเปลี่ยนการตั้งค่าเครือข่ายให้กลับไปเป็นค่าเริ่มต้นจากโรงงาน <กำหนดค่าเริ่มต้นเมนู>
51SJ-08R